ครั้งที่ 5
Knowledge ความรู้
ประโยชน์ของการเล่น
- กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
- ทำให้เด็กเกิดความสุขสนานเพลิดเพลินผ่อนคลาย
- ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น
Piaget กล่าวถึงพัฒนาการการเล่นของเด็กว่ามี 3 ขั้นดังนี้
ขั้นที่1 การเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส
- สำรวจ จับต้องวัตถุ
- ยุติลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
ขั้นที่2 การสร้างสรรค์
- อายุ 1 ขวบครึ่งถึง 2 ปี
- การเล่นที่ไม่มีขอบเขตจำกัด
-เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง
ขั้นที่3 การเล่นที่ใช้สัญลักษณ์
- 2 ขวบขึ้นไป
- สามารถพัฒนาเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ
- เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมุติสิ่งของเครื่องเล่นต่างๆที่ไม่มีอยู่ที่นั่น
- ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมุติ
การเล่นในร่ม
- การเล่นตามมุมประสบการณ์
- การเล่นสรรค์สร้าง
การเล่นสรรค์สร้าง
- การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระและเล่นได้หลายวิธี
- ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
- เกิดความรู้ความเข้าใจในตนเอง
องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
1. สภาวะการเรียนรู้
- เนื้อหาของสาระการให้ความรู้แก่เด็กโดยจัดสถานการณ์ให้เด็กเกิดการเรียนรู้
- การเรียนรู้คุณลักษณะความเหมือน
- การเรียนรู้เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งของและผู้อื่น
- การเรียนรู้และจินตนาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
- การเรียนรู้เหตุและผล
2. พัฒนาการของการรู้คิด
- ต้องจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
- กระบวนการเรียนรู้
- กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
- เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
- การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงกลาง
- การจำแนกอย่างมีเหตุผล
กิจกรรมในห้องเรียน
กิจกรรมต่อไม้จิ้มฟัน
- อาจารย์แนะนำอุปกรณ์และวิธีการทำกิจกรรม จับกลุ่ม 3 คน
- ครั้งที่1 ทำโดย ไม่พูดคุยกัน ได้ความสูง 23 เซนติเมตร
- ครั้งที่2 สามาถรพูดได้ 1 คน ได้ความสูง 40 เซนติเตร
- ครั้งที่ 3 สามารถพูดคุยกันได้ ได้ความสูง 71 เซนติเมตร
กิจกรรม "เรือบรรทุกของ"
อุปกรณ์
- ไม้เสียบลูกชิ้น 3 ไม้
- หนังยาง 2 เส้น
- กระดาษ A4 2แผ่น
กติกา
ออกแบบอย่างไรก็ได้ ที่สามารถขนใข่ดินน้ำมันจำนวน 20 ฟอง ให้ลอยอยู่ในน้ำได้เป็นเวลา 10 วินาที